บทสวดมนต์ ทำวัตรเย็น
บททำวัตรเย็น
ใจความสำคัญ : เป็นบทสวดสาธยายคุณของพระรัตนตรัย เพื่อให้จิตเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เกิดความพากเพียรในการละชั่วทำดีมากยิ่งๆ ขึ้น
ประวัติ : การทำวัตรเย็นนี้ ไม่มีในครั้งพุทธกาล เพิ่งเกิดมีขึ้นในประเทศเรานี้เป็นครั้งแรก โดยยึดถือธรรมเนียมที่พระสงฆ์สมัยพุทธกาลเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เพื่อฟังธรรมเป็นประจำทุกวันเป็นแนวทางปฏิบัติ การทำวัตรเย็นจึงเปรียบเสมือนการเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าทุกเย็น
(เมื่อหัวหน้าจุด เทียน ธูป พึงนั่งคุกเข่าประนมมือพร้อมกัน หัวหน้านำให้ว่าตามทีละตอน)
บทนำทำวัตร
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. (กราบ)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ. (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ. (กราบ)
พุทธานุสสติ ระลึกถึงพระพุทธเจ้า
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัญเจวะ
พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส.
(รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต,
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต
โลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
(นำ) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.
(รับ) พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงว่า ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง (หญิงว่า ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงว่า นายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
(กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ. (นั่งคุกเข่าว่า)
ธัมมานุสสติ ระลึกถึงพระธรรม
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.
(รับ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก,
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.
(นำ) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.
(รับ) ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงว่า ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง (หญิงว่า ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงว่า นายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
(กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม. (นั่งคุกเข่าว่า)
สังฆานุสสติ ระลึกถึงพระสงฆ์
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.
(รับ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิ-กะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
(นำ) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.
(รับ) สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต
วันทามะหัง ตะมะริยานะ คะณัง สุสุทธัง
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง
สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงว่า ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง
วันทันโตหัง (หญิงว่า ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงว่า นายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
(กราบหมอบลงว่า)
กาเยนะ วาจายะ วา เจตะสา วา
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.
ที่มา : พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔
ประยุกต์ใช้ : ผู้ใดหมั่นระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัยด้วยความจริงใจ สม่ำเสมอ ย่อมได้รับอานิสงส์มากมายหลายประการ อาทิ จิตใจมีความศรัทธาตั้งมั่นในคุณของพระรัตนตรัยยิ่งๆ ขึ้น จิตที่ตั้งมั่นในคุณพระรัตนตรัย ย่อมเป็นจิตที่กล้าหาญในการทำความดีและทนทานต่อการยั่วยุของอกุศลธรรม ในแต่ละวันในทุกการกระทำ หากเรามีสติระลึกถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ อยู่เสมอแล้ว ถ้าเป็นการทำดีจิตใจของเราก็จะเบิกบานแจ่มใสในอันที่จะลงมือปฏิบัติ ถ้าเป็นการกระทำไม่ดีก็จะมีสติบอกสอนตนเตือนตนให้ยับยั้งชั่งใจหรือละเว้นการกระทำนั้นเสีย หัวใจสำคัญของการนับถือพระรัตนตรัย ก็คือ เพื่อให้มีสติบอกสอนตนเองในการละชั่ว ทำดี ทำจิตให้ผ่องใสบริสุทธิ์ นั่นเอง